วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559

อัตราเร็ว

อัตราเร็ว คือระยะทางในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น 

เมตร/วินาที (m/s)  ถ้าเป็นระยะทางทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลาเรียกว่า อัตราเร็วเฉลี่ย
    อัตราเร็วขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็วในช่วงเวลาสั้นๆ หรืออัตราเร็วที่ปรากฏขณะนั้น
    อัตราเร็วคงที่ หมายถึง วัตถุที่เคลื่อนที่มีอัตราเร็วสม่ำเสมอตลอดการเคลื่อนที่ไม่ว่าจะ อ่านเพิ่มเติม
                                                   สูตร

ความเร็ว

 ความเร็ว คือ การกระจัดในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที ( m/s )

      ความเร็วขณะหนึ่ง คือ ความเร็วที่ปรากฏขณะนั้น หรือความเร็วในช่วง 
อ่านเพิ่มเติม
                                             สูตร
v = ความเร็ว (m/s)
 s = การกระจัด (m) 
t = เวลา (s)


ความเร่ง

ความเร่ง

     ความเร่ง (Acceleration) คือ ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2   อ่านเพิ่มเติม
                                                         สูตร

                                                                  
     มื่อ ความเร่ง (m/s²)
           u = ความเร็วต้น (m/s)
               v = ความเร็วปลาย (m/s)
 t เวลา (s)

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่งดังนั้นสมการในการคำนวณจึงเหมือนกับ สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า เป็น เท่านั้น อ่านเพิ่มเติม


การเคลื่อนที่ของบอลลน

วัตถุที่ตกจากบอลลูนมีการเคลื่อนที่ กรณี

1. บอลลูนลอยขึ้นด้วยความเร็ว V
    ถุงทรายที่ตกจากบอลลูนจะมีความเร็ว เท่ากับบอลลูนและมีทิศขึ้นเหมือนบอลลูน และเมื่อถุงทรายหลุดจากบอลลูนจะเคลื่อนที่แบบตกอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ความเร่ง = -  m/s² อ่านเพิ่มเติม

มวลและความเฉื่อย

 มวล หมายถึง ปริมาณที่บอกว่าวัตถุมีความเฉื่อยน้อยหรือเฉื่อยมากเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) มวลไม่ว่าอยู่ที่ใดจะมีค่าคงที่

     น้ำหนัก หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวัตถุเป็นปริมาณ เวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) อ่านเพิ่มเติม 
                                                                   

กฏข้อ 3 ของนิวตัน

"ทุกแรงกิริยาจะต้องมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงข้ามเสมอ" หรือ "แรงกระทำซึ่งกันและกันของวัตถุทั้งสอง ย่อมมีขนาดเท่ากันและทิศตรงข้าม"
                แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา

      กฎข้อนี้แสดงให้เห็นว่าแรงทุกแรงจะเกิดขึ้นเป็นคู่เสมอ เมื่อวัตถุ A ส่งแรงกระทำต่อวัตถุ B วัตถุ B ก็จะส่งแรงที่เท่ากันตอบกลับมาในทิศทางที่ตรงข้าม
ตัวอย่างเช่น ผู้ที่กำลังเล่นสเกตเลื่อน ออกแรงผลักผู้เล่นคนอื่น ทั้งคู่ก็จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามกัน

 อ่านเพิ่มเติม